เทศบาล
ตำบลชำฆ้อ

การประเมิน ITA

การดำเนินการตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสของเทศบาลตำบลชำฆ้อ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567

ITA คืออะไร

ITA (Integrity and Transparency Assessment : ITA) การประเมินคุณธรรมและความ โปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ

เกี่ยวกับ ITA

ITA หรือการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ

ความหมายของ ITA (Integrity and Transparency Assessment : ITA) การประเมินคุณธรรมและความ โปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (เป็นเครื่องมือการประเมินเชิงบวกเพื่อเป็นมาตรการป้องกันการทุจริต และเป็นกลไกในการสร้างความตระหนักให้หน่วยงานภาครัฐมีการดำเนินงานอย่างโปร่งใสและมีคุณธรรม ซึ่งประกอบด้วย ๑๐ ตัวชี้วัด ดังนี้

  • 1. ตัวชี้วัดที่ 1 การปฏิบัติหน้าที่
  • 2. ตัวชี้วัดที่ 2 การใช้งบประมาณ
  • 3. ตัวชี้วัดที่ 3 การใช้อำนาจ
  • 4. ตัวชี้วัดที่ 4 การใช้ทรัพย์สินของทางราชการ
  • 5. ตัวชี้วัดที่ 5 การแก้ไขปัญหาการทุจริต
  • 6. ตัวชี้วัดที่ 6 คุณภาพการดำเนินงาน
  • 7. ตัวชี้วัดที่ 7 ประสิทธิภาพการสื่อสาร
  • 8. ตัวชี้วัดที่ 8 การปรับปรุงระบบการทำงาน
  • 9. ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล
  • 10. ตัวชี้วัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต

ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล

เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นปัจ จุบันบนเว็บไซต์ของหนว่ยงานเพื่อเปิด เผยข้อมูลต่างๆ ของหน่วยงานให้สาธารณชนได้รับทราบใน 5 ประเด็น คือ

  • (1) ข้อมูลพื้นฐาน ได้แก่ ข้อมูลพื้น ฐานข่าวประชาสัมพันธ์ และการปฏิสัมพันธ์ข้อมูล
  • (2) การบริหารงาน ได้แก่ แผนดำเนินงาน การปฏิบัติงาน และ การให้บริการ
  • (3) การจัดซื้อจัดจ้าง ได้แก่ การจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
  • (4) การบริหารและพัฒนาทรัพ ยากร บุคคล ได้แก่ นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล และ หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล และ
  • (5) การส่งเสริมความโปร่งใสในหน่วยงาน ได้แก่การจัดการ เรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบและการเปิดโอกาสใหเ้กิดการมีส่วนร่วมซงึ่ การเผยแพร่ข้อมูลในประเดน็ ขา้ งต้นแสดงถึงความโปร่งใสในการบริหารงานและการดำาเนินงานของหน่วยงาน
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.1 - ข้อมูลพื้นฐาน

ข้อมูลพื้นฐาน

เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันบนเว็บไซต์ของหน่วยงานเพื่อเปิดเผยข้อมูลต่างๆ ของหน่วยงานให้สาธารณชนได้รับทราบใน 5 ประเด็น คือ

• แสดงแผนผังโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของหน่วยงาน*
• แสดงตำแหน่งที่สำคัญและการแบ่งส่วนงานภายใน ยกตัวอย่างเช่น สำนัก กอง ศูนย์ ฝ่าย ส่วน กลุ่ม เป็นต้น

คลิ้ก!! ดูโครงสร้างส่วนราชการ 

* กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ให้แสดงแผนผัง โครงสร้าง ทั้งฝ่ายการเมืองและฝ่ายข้าราชการประจำ

            คลิ้ก !! เพื่อดูคณะผู้บริหาร

  • * กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ให้แสดงข้อมูลผู้บริหาร ในฝ่ายการเมืองและฝ่ายข้าราชการประจำ

แสดงข้อมูลเฉพาะที่อธิบายถึงหน้าที่และอำนาจของหน่วยงาน* * ต้องไม่เป็นการแสดงข้อมูลกฎหมายทั้งฉบับ

• แสดงข้อมูลการติดต่อของหน่วยงาน อย่างน้อยประกอบด้วย
(1) ที่อยู่หน่วยงาน
(2) หมายเลขโทรศัพท์
(3) E-mail
(4) แผนที่ตั้ง

ติดต่อเรา คลิ้กเลย !!

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.1 - ข้อมูลพื้นฐาน

การประชาสัมพันธ์

แสดงข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่ หรือภารกิจของหน่วยงาน

  • แสดงข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่หรือภารกิจของหน่วยงาน
  • แสดง QR code แบบวัด EIT ของหน่วยงานที่ดาวโหลดจากระบบ ITAS ไว้บนหน้าแรกของเว็บไซต์หลักของหน่วยงาน เพื่อให้ผู้รับบริการหรือติดต่อราชการมีโอกาสได้มีส่วนร่วมในการประเมิน ITA ของหน่วยงาน
  • เป็นข้อมูลข่าวสารที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 256

    คลิ้ก!! ดู QR code เพื่อร่วมประเมิน
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.1 - ข้อมูลพื้นฐาน

การปฏิสัมพันธ์ข้อมูล

• แสดงตำแหน่งบนเว็บไซต์ของหน่วยงานที่บุคคลภายนอกสามารถสอบถาม ข้อมูลต่าง ๆ ได้ และหน่วยงานสามารถสื่อสารให้คำตอบกับผู้สอบถามได้ โดยมีลักษณะเป็นการสื่อสารได้สองทาง ทางหน้าเว็บไซต์ของหน่วยงาน (Q&A) ยกตัวอย่างเช่น Messenger Live Chat, Chatbot,

Line OA  https://lin.ee/OlT3YnX

*ไม่รวมถึง E-mail

• แสดงตำแหน่งบนเว็บไซต์ของหน่วยงานที่สามารถเชื่อมโยงไปยังเครือข่ายสังคม ออนไลน์ของหน่วยงาน ยกตัวอย่างเช่น Facebook, Twitter, Instagram

https://www.facebook.com/chamkho.rayong

เว็บไซต์เทศบาลตําบลชําฆ้อ ได้จัดทํานโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลขึ้น เพื่อคุ้มครอง ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการทุกท่าน (Personal Information) ที่ติดต่อเข้ามายังเว็บไซต์เทศบาลตําบลชําฆ้อ 

อ่าน นโยบายคุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคล คลิ้ก!!

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.2 - การบริหารงาน

การดำเนินงาน

แสดงข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่ หรือภารกิจของหน่วยงาน

  • แสดงแผนการดำเนินภารกิจของหน่วยงานที่มีระยะ 1 ปี

  • มีข้อมูลรายละเอียดของแผนฯ อย่างน้อยประกอบด้วย

    (1) โครงการหรือกิจกรรม (2) งบประมาณที่ใช้
    (3) ระยะเวลาในการดำเนินการ

  • เป็นแผนที่มีระยะเวลาบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2566

  • แสดงรายงานผลความก้าวหน้าในการดำเนินงานตามแผนดำเนินงานประจำปี ในข้อ o11

  • มีเนื้อหาหรือรายละเอียดความก้าวหน้า อย่างน้อยประกอบด้วย (1) ความก้าวหน้าการดำเนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม
    (2) รายละเอียดงบประมาณที่ใช้ดำเนินงานแต่ละโครงการ/กิจกรรม

  • สามารถจัดทำข้อมูลเป็นแบบรายเดือน หรือรายไตรมาส หรือราย 6 เดือน ที่มีข้อมูลครอบคลุมในระยะเวลา 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2566

  • แสดงรายงานผลการดำเนินงานตามแผนดำเนินงานประจำปี

  • มีข้อมูลรายละเอียดสรุปผลการดำเนินงาน อย่างน้อยประกอบด้วย

    (1) ผลการดำเนินโครงการหรือกิจกรรม (2) ผลการใช้จ่ายงบประมาณ
    (3) ปัญหา/อุปสรรค
    (4) ข้อเสนอแนะ

  • เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2565

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.2 - การบริหารงาน

การปฏิบัติงาน

แสดงข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่ หรือภารกิจของหน่วยงาน

  • แสดงคู่มือหรือแนวทางการปฏิบัติงานที่เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานใช้ยึดถือปฏิบัติ ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน*

  • มีข้อมูลรายละเอียดของการปฏิบัติงาน อย่างน้อยประกอบด้วย (1) เป็นคู่มือปฏิบัติภารกิจใด
    (2) สำหรับเจ้าหน้าที่หรือพนักงานตำแหน่งใด
    (3) กำหนดวิธีการขั้นตอนการปฏิบัติอย่างไร

  • จะต้องมีอย่างน้อย 1 คู่มือ

    * กรณีมีองค์กรกลางที่มีหน้าที่กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติในเรื่องนั้น หน่วยงานสามารถนำข้อมูลดังกล่าว เผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงานได้

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.2 - การบริหารงาน

การให้บริการ*

* การให้บริการ หมายถึง การให้บริการตามอำนาจหน้าที่หรือภารกิจตามกฎหมายของหน่วยงาน สำหรับหน่วยงานที่มีการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ เป็นจำนวนมาก อาจมุ่งเน้นเผยแพร่การปฏิบัติงานหรือการให้บริการที่มีความสำคัญต่อภารกิจของหน่วยงาน

  • แสดงคู่มือการให้บริการประชาชนหรือคู่มือแนวทางการปฏิบัติที่ผู้รับบริการหรือ ผู้มาติดต่อกับหน่วยงานใช้เป็นข้อมูลในการขอรับบริการหรือติดต่อกับหน่วยงาน

  • มีข้อมูลรายละเอียดของการปฏิบัติ อย่างน้อยประกอบด้วย
    (1) บริการหรือภารกิจใด
    (2) กำหนดวิธีการขั้นตอนการให้บริการหรือการติดต่ออย่างไร

  • หน่วยงานจะต้องเปิดเผยอย่างน้อย 1 คู่มือ

  • แสดงข้อมูลสถิติการให้บริการของหน่วยงาน
  • สามารถจัดทำข้อมูลเป็นแบบรายเดือน หรือรายไตรมาส หรือราย 6 เดือน ที่มีข้อมูลครอบคลุมในระยะเวลา 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2566
  • แสดงผลสำรวจความพึงพอใจการให้บริการของหน่วยงาน
  • เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2566
  • แสดงช่องทางการให้บริการข้อมูลหรือธุรกรรมภาครัฐที่สอดคล้องกับภารกิจ ของหน่วยงานผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยผู้ขอรับบริการไม่จำเป็นต้องเดินทาง มายังหน่วยงาน
  • สามารถเข้าถึงหรือเชื่อมโยงไปยังช่องทางข้างต้นได้จากเว็บไซต์หลักของหน่วยงาน
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.3 - การจัดซื้อจัดจ้าง

การจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ

• แสดงแผนการจัดซื้อจัดจ้างหรอื แผนการจัดหาพัสดุตามที่หน่วยงานจะต้องดำเนินการ ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560*

• เป็นข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างในปี พ.ศ. 2566

* กรณีไม่มีการจัดจ้างที่มีวงเงินเกิน 5 แสนบาทหรือการจัดจ้างที่กฎหมายไม่ได้กำหนดให้ต้องเผยแพร่ แผนการจัดซื้อจัดจ้าง ให้หน่วยงานอธิบายเพิ่มเติมโดยละเอียด หรือเผยแพร่ว่าไม่มีการจัดซื้อจัดจ้าง ในกรณีดังกล่าว

• แสดงประกาศการจัดซื้อจัดจ้างตามที่หน่วยงานจะต้องดำเนินการตาม พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ยกตัวอย่างเช่น ประกาศเชิญชวน ประกาศผลการจัดซื้อจัดจ้าง เป็นต้น

• เป็นข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างในปี พ.ศ. 2566

  • แสดงรายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงาน*

  • มีข้อมูลรายละเอียดผลการจัดซื้อจัดจ้าง ยกตัวอย่างเช่น งานที่ซื้อหรือจ้าง

    วงเงินที่ซื้อหรือจ้าง ราคากลาง วิธีการซื้อหรือจ้าง รายชื่อผู้เสนอราคาและ ราคาที่เสนอ ผู้ได้รับการคัดเลือกและราคาที่ตกลง เหตุผลที่คัดเลือกโดยสรุป เลขที่และวันที่ของสัญญาหรือข้อตกลงในการซื้อหรือจ้าง เป็นต้น

  • เป็นข้อมูลแบบรายเดือน ที่มีข้อมูลครอบคลุมในระยะเวลา 6 เดือนแรกของ ปี พ.ศ. 2566

    *กรณีไม่มีการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือนใดให้เผยแพร่ว่าไม่มีการจัดซื้อจัดจ้างในเดือนนั้น

  • แสดงรายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงาน

  • มีข้อมูลรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย

    (1) งบประมาณที่ใช้ในการจัดซื้อจัดจ้าง
    (2) สรุปรายการที่มีการจัดซื้อจัดจ้าง
    (3) ปัญหา/อุปสรรค
    (4) ข้อเสนอแนะ

  • เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2565

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.4 - กํารบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล

การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล

• เป็นนโยบายหรือแผนการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
• แสดงนโยบายของผู้บริหารสูงสุด หรือแผนการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลที่กำหนดในนามของหน่วยงาน

• เป็นนโยบายหรือแผนฯ ที่ใช้บังคับในปี พ.ศ. 2566

  • แสดงรายงานผลความก้าวหน้าการดำเนินการตามนโยบายหรือแผนการบริหาร และพัฒนาทรัพยากรบุคคล ในข้อ o23

  • มีเนื้อหาหรือรายละเอียดความก้าวหน้า อย่างน้อยประกอบด้วย
    (1) ความก้าวหน้าการดำเนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม
    (2) รายละเอียดงบประมาณที่ใช้ดำเนินงานแต่ละโครงการ/กิจกรรม

  • สามารถจัดทำข้อมูลเป็นแบบรายเดือน หรือรายไตรมาส หรือราย 6 เดือน ที่มีข้อมูลครอบคลุมในระยะเวลา 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2566

  • แสดงหลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล*

  • หลักเกณฑ์ฯ อย่างน้อยประกอบด้วย

    (1) การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร
    (2) การบรรจุและแต่งตั้งบุคลากร
    (3) การพัฒนาบุคลากร
    (4) การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
    (5) การให้คุณให้โทษและการสร้างขวัญกำลังใจ

  • เป็นหลักเกณฑ์ฯ ที่ใช้บังคับในปี พ.ศ. 2566

    * กรณีมีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลที่มีหน้าที่กำหนดหลักเกณฑ์ในเรื่องนั้น หน่วยงานสามารถ นำหลักเกณฑ์ดังกล่าวเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงานได้

  • แสดงรายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล

  • มีข้อมูลรายละเอียดของการดำเนินการ อย่างน้อยประกอบด้วย

    (1) ผลการดำเนินการตามนโยบายหรือแผนการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
    (2) สรุปข้อมูลสถิติด้านทรัพยากรบุคคล เช่น อัตรากำลัง การแต่งตั้ง/โยกย้าย การฝึกอบรม/พัฒนา เป็นต้น
    (3) ปัญหา/อุปสรรค
    (4) ข้อเสนอแนะ

  • เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2565

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.5 - การส่งเสริมความโปร่งใส

การจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ

  • แสดงคู่มือหรือแนวทางการดำเนินการต่อเรื่องร้องเรียนที่เกี่ยวข้องกับการทุจริต และประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน

  • มีข้อมูลรายละเอียดของการปฏิบัติงาน อย่างน้อยประกอบด้วย
    (1) รายละเอียดวิธีการที่บุคคลภายนอกจะทำการร้องเรียน
    (2) รายละเอียดขั้นตอนหรือวิธีการในการจัดการต่อเรื่องร้องเรียน
    (3) ส่วนงานที่รับผิดชอบ
    (4) ระยะเวลาดำเนินการ

  • แสดงช่องทางที่บุคคลภายนอกสามารถแจ้งเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริต และประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน ผ่านทางช่องทางออนไลน์ของ หน่วยงาน โดยแยกต่างหากจากช่องทางการร้องเรียนเรื่องทั่วไป เพื่อเป็นการ คุ้มครองข้อมูลของผู้แจ้งเบาะแสและเพื่อให้สอดคล้องกับแนวปฏิบัติการจัดการ เรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ

  • สามารถเข้าถึงหรือเชื่อมโยงไปยังช่องทางข้างต้นได้จากเว็บไซต์หลักของหน่วยงาน

  • แสดงข้อมูลสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ของ หน่วยงาน*

  • มีข้อมูลความก้าวหน้าการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ อย่างน้อยประกอบด้วย
    (1) จำนวนเรื่องร้องเรียนทั้งหมด
    (2) จำนวนเรื่องที่ดำเนินการแล้วเสร็จ
    (3) จำนวนเรื่องที่อยู่ระหว่างดำเนินการ

  • สามารถจัดทำข้อมูลเป็นแบบรายเดือน หรือรายไตรมาส หรือราย 6 เดือนที่มีข้อมูลครอบคลุมในระยะเวลา 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2566
    *กรณีไม่มีเรื่องร้องเรียนให้เผยแพร่ว่าไม่มีเรื่องร้องเรียน

ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.5 - การส่งเสริมความโปร่งใส

การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม

  • แสดงรายงานผลการเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ตามภารกิจของหน่วยงาน

  • มีข้อมูลผลการเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกได้มีส่วนร่วม อย่างน้อยประกอบด้วย (1) ประเด็นหรือเรื่องในการมีส่วนร่วม
    (2) สรุปข้อมูลของผู้มีส่วนร่วม
    (3) ผลจากการมีส่วนร่วม
    (4) การนำผลจากการมีส่วนร่วมไปปรับปรุงพัฒนาการดำเนินงาน

  • เป็นการดำเนินการในปี พ.ศ. 2566

ตัวชี้วัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต

เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมิน การเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นปัจ จุบันบนเว็บไซต์ขของหน่วยงานเพื่อ เปิดเผยการดำเนินการต่างๆ ของหน่วยงานให้สาธารณชนได้รับทราบใน2ประเด็นคือ

  • (1)การดำเนินการเพื่อป้องกัน การทุจริต ได้แก่ นโยบายไม่รับของขวัญ การประเมินความเสี่ยงเพื่อการป้องกันการทุจริต และแผนปฏิบัติการ ป้องกันการทุจริต และ
  • (2) มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส ได้แก่ มาตรการเสริมสร้างมาตรฐาน ทางจริยธรรม มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริตภายในหน่วยงาน ซึ่งการเผยแพร่ข้อมูลใน ประเด็นข้างต้นแสดงถึงการให้ความสำ คัญต่อผลการประเมินเพื่อ นำ ไปสู่การจัดทำ มาตรการส่ง เสริม ความโปร่งใสภายในหนว่ยงาน และมีการกำกับติดตามการนำไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็น รูปธรรม
ตัวชี้วัดย่อยที่ 10.1 - การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริต

นโยบาย No Gift Policy*

*ดูแนวทางและรายละเอียดเพิ่มเติมได้ทางเว็บไซต์สำนักงาน ป.ป.ท.

  • เป็นประกาศอย่างเป็นทางการที่มีการลงนามโดยผู้บริหารสูงสุด*

  • มีวัตถุประสงค์เพื่อประกาศว่าตนเองและเจ้าหน้าที่ของรัฐทุกคนในหน่วยงาน

    จะไม่รับของขวัญและของกำนัลทุกชนิดในก่อน/ขณะ/หลังปฏิบัติหน้าที่ ที่จะส่งผลให้เกิดการทุจริตและประพฤติมิชอบทั้งในปัจจุบันและอนาคต

  • เป็นการประกาศสำหรับปี พ.ศ. 2566 *ผู้บริหารสูงสุดที่ดำรงตำแหน่งใน ปี พ.ศ. 2566

  • แสดงการดำเนินกิจกรรมที่มีวัตถุประสงค์เพื่อปลุกจิตสำนึกหรือสร้างวัฒนธรรมให้เจ้าหน้าที่ใน การปฏิเสธการรับของขวัญ และของกำนัลทุกชนิดจาก การปฏิบัตหน้าที่

  • เป็นการดำเนินกิจกรรมในลักษณะการประชุมการสมั มนาเพื่อถ่ายทอดหรือมอบนโยบายหรือเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ

  • เป็นการดำเนินการในปี พ.ศ. 2566

• แสดงการประเมินผลและรายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy จากการปฏิบัติหน้าที่
• เป็นรายงานรอบ 6 เดือนของปี พ.ศ. 2566

ตัวชี้วัดย่อยที่ 10.1 - การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริต

การประเมินความเสี่ยงเพื่อป้องกันการทุจริต

  • แสดงผลการประเมินความเสี่ยงของการดำเนินงานหรือการปฏิบัติหน้าที่ ที่อาจก่อให้เกิดการทุจริตและประพฤติมิชอบ

  • มีข้อมูลรายละเอียดของผลการประเมิน อย่างน้อยประกอบด้วย
    (1) เหตุการณ์ความเสี่ยงและระดับของความเสี่ยง
    (2) มาตรการและการดำเนินการในการบริหารจัดการความเสี่ยง

  • เป็นการดำเนินการในปี พ.ศ. 2566

• เป็นกิจกรรมหรือการดำเนินการที่สอดคล้องกับมาตรการหรือการดำเนินการ เพื่อบริหารจัดการความเสี่ยงตามข้อ o34

• เป็นการดำเนินการในปี พ.ศ. 2566

ตัวชี้วัดย่อยที่ 10.1 - การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริต

แผนป้องกันการทุจริต

* กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถใช้แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตจากระบบ e-plan โดยจะต้องเผยแพร่ไฟล์บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน เพื่อให้ประชาชนและสาธารณชนสามารถเข้าถึงข้อมูลได้

  • แสดงแผนปฏิบัติการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันการทุจริตหรือส่งเสริมมาตรฐาน จริยธรรม หรือธรรมาภิบาลของหน่วยงาน

  • มีข้อมูลรายละเอียดของแผนฯ อย่างน้อยประกอบด้วย
    (1) โครงการ/กิจกรรม
    (2) งบประมาณ*
    (3) ช่วงเวลาดำเนินการ

  • เป็นแผนที่มีระยะเวลาบังคับใช้ครอบคลุมปี พ.ศ. 2566 *กรณีการดำเนินการ/กิจกรรมที่ไม่ใช้งบประมาณ ให้ระบุในแผนว่าไม่ได้ใช้งบประมาณดำเนินการ

  • แสดงรายงานความก้าวหน้าในการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต ตามข้อ o36

  • มีข้อมูลรายละเอียดความก้าวหน้า อย่างน้อยประกอบด้วย
    (1) ความก้าวหน้าการดำเนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม
    (2) รายละเอียดงบประมาณที่ใช้ดำเนินงานแต่ละโครงการ/กิจกรรม

  • สามารถจัดทำข้อมูลเป็นแบบรายเดือน หรือรายไตรมาส หรือราย 6 เดือน ที่มีข้อมูลครอบคลุมในระยะเวลา 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2566

  • แสดงรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี

  • มีข้อมูลรายละเอียดสรุปผลการดำเนินการ อย่างน้อยประกอบด้วย

    (1) ผลการดำเนินโครงการหรือกิจกรรม
    (2) ผลการใช้จ่ายงบประมาณ
    (3) ปัญหา/อุปสรรค
    (4) ข้อเสนอแนะ

  • เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2565

ตัวชี้วัดย่อยที่ 10.2 - มําตรกํารส่งเสริมคุณธรรมและควํามโปร่งใส

มาตรการเสริมสร้างมาตรฐานทางจริยธรรม*

* ดูแนวทางและรายละเอียดเพิ่มเติมได้ทางเว็บไซต์สำนักงาน ก.พ.

• แสดงประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ*
• แสดงข้อกำหนดจริยธรรม* (ถ้ามี) เพื่อกำหนดเป็นหลักเกณฑ์ในการปฏิบัติตนของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน

* กรณีประมวลจริยธรรมจะต้องดำเนินการโดยองค์กรกลางบริหารงานบุคคลที่รับผิดชอบ กรณีข้อกำหนดจริยธรรมจะต้องดำเนินการโดยหน่วยงานเอง

  • แสดงผลการเสริมสร้างมาตรฐานทางจริยธรรมให้แก่เจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน อย่างน้อยประกอบด้วย
    (1) การจัดตั้งทีมให้คำปรึกษาตอบคำถามทางจริยธรรมหรือคณะทำงานขับเคลื่อน เรื่องจริยธรรม
    (2) การจัดทำแนวปฏิบัติ Dos & Don’ts เพื่อลดความสับสนเกี่ยวกับพฤติกรรมสีเทา และเป็นแนวทางในการประพฤติตนทางจริยธรรม
    (3) การฝึกอบรมที่มีการสอดแทรกสาระด้านจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในหลักสูตร หรือกิจกรรมเสริมสร้าง/ส่งเสริมจริยธรรมของหน่วยงาน

  • เป็นการดำเนินการในปี พ.ศ. 2566

  • แสดงรายงานการนำการประเมินจริยธรรมไปใช้ในกระบวนการบริหาร ทรัพยากรบุคคล กระบวนการใดกระบวนการหนึ่ง

  • แสดงการกำหนดให้มีการนำผลการประเมินพฤติกรรมทางจริยธรรมไปใช้ ประกอบการพิจารณาในหลักเกณฑ์บริหารทรัพยากรบุคคล กระบวนการใด กระบวนการหนึ่ง

  • เป็นการดำเนินการในปี พ.ศ. 2566

ตัวชี้วัดย่อยที่ 10.2 - มําตรกํารส่งเสริมคุณธรรมและควํามโปร่งใส

มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริตภายในหน่วยงาน

  • แสดงการวิเคราะห์ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ ในปี พ.ศ. 2565

  • มีข้อมูลรายละเอียดการวิเคราะห์ อย่างน้อยประกอบด้วย
    (1) ประเด็นที่เป็นข้อบกพร่องหรือจุดอ่อนที่จะต้องแก้ไขโดยเร่งด่วน
    (2) ประเด็นที่จะต้องพัฒนาให้ดีขึ้น ที่มีความสอดคล้องกับผลการประเมินฯ

  • มีการกำหนดแนวทางการนำผลการวิเคราะห์ไปสู่การปฏิบัติหรือมาตรการ เพื่อขับเคลื่อนการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงานให้ดีขึ้น ซึ่งสอดคล้องตามผลการวิเคราะห์ผลการประเมินฯ โดยมีรายละเอียดต่าง ๆ อย่างน้อยประกอบด้วย

    (1) การกำหนดผู้รับผิดชอบหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
    (2) การกำหนดขั้นตอนหรือวิธีการปฏิบัติ
    (3) การกำหนดแนวทางการกำกับติดตามให้นำไปสู่การปฏิบัติและการรายงานผล

  • แสดงความก้าวหน้าหรือผลการดำเนินการตามมาตรการเพื่อส่งเสริมคุณธรรม และความโปร่งใสภายในหน่วยงาน ตามข้อ o42 ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม โดยมีข้อมูลรายละเอียดการนำมาตรการเพื่อส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส ภายในหน่วยงาน

  • แสดง QR code แบบวัด EIT บนเว็บไซต์หน่วยงาน เพื่อให้ผู้รับบริการหรือ ติดต่อราชการมีโอกาสมีส่วนร่วมในการประเมิน ITA ของหน่วยงาน

  • เป็นการดำเนินการในปี พ.ศ. 2566